โดย UV-C พบได้ภายในช่วงคลื่นแสงที่ 100-280 นาโนเมตร จากรูปภาพในกราฟจะเห็นว่าคลื่นแสงที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโรคจะอยู่ที่ 265 นาโนเมตร
จากผลการวิจัยในห้องปฏิบัติการได้ผลพิสูจน์แล้วว่าสามารถขจัด DNA ของเชื้อไวรัส อยู่ที่ 85% ของค่าสูงสุด และ 80% บนเส้นโค้ง IES
*แสง UV-C เดินทางเป็นเส้นตรง การฆ่าเชื้อโรคจึงจะเกิดขึ้นได้ดีหากอยู่ในระยะใกล้และในด้านที่แสงตกกระทบ
รังสี UV-C (ที่ความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร) จะถูกดูดซับโดยตรงเข้าสู่อาร์เอ็นเอและฐานดีเอ็นเอของจุลินทรีย์ หรือพวกเชื้อโรคเชื้อไวรัสต่างๆ ด้วยเหตุนี้คลื่นแสงจะเข้าไปหยุดการทำงานของจุลินทรีย์โดยรบกวนการจำลองดีเอ็นเอของตัวมันเอง ซึ่งการจำลองแบบ การถอดรหัส และการแปลของ DNA จะส่งผลต่อการทำงานของเซลล์ ทำให้เซลล์แบคทีเรียตายไปนั่นเอง
🔸 แสง UV-C เดินทางเป็นเส้นตรง การฆ่าเชื้อโรคจึงจะเกิดขึ้นได้ดีหากอยู่ในระยะใกล้และในด้านที่แสงตกกระทบ แต่จะมีข้อจำกัดอยู่ตรงที่ว่าบริเวณที่เป็นซอกหลืบหรือส่วนที่ถูกแสงบัง UV-C จะเข้าไปไม่ถึงและไม่สามารถฆ่าเชื้อโรคในจุดๆนั้นได้
🔸 แสง UV-C นั้นไม่สามารถทะลุผ่านผ้า กระจก ไม้ กระดาษ รวมทั้งอะลูมิเนียมและโลหะได้
🔸 ควรใช้งานหลอด UV-C กับพื้นที่ที่เป็นห้องปิด และไม่ควรมีคน หรือสัตว์เลี้ยงอยู่ในห้อง
🔸 แสง UV-C อาจทำให้อุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบของพลาสติกมีอายุการใช้งานลดลง แนะนำว่าให้ใช้วิธีอื่นในการฆ่าเชื้อแทน เช่น เช็ดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ เป็นต้น สำหรับของใช้ในห้องที่จะทำการฆ่าเชื้อด้วย UV-C อาจจะหาผ้าคลุมปิดทับอีกที
🔸 ทุกครั้งที่มีการใช้งาน UV-C แนะนำให้สวมแว่นตาและเสื้อผ้าที่ปกคลุมบริเวณผิวหนัง หรือบริเวณที่ต้องสัมผัส UV-C รวมถึงสวมถุงมือเพื่อปกป้องผิวบริเวณมือหากต้องหยิบจับอุปกรณ์ใดๆในขณะที่เปิดใช้งานหลอด UV-C
โดย UV-C พบได้ภายในช่วงคลื่นแสงที่ 100-280 นาโนเมตร จากรูปภาพในกราฟจะเห็นว่าคลื่นแสงที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโรคจะอยู่ที่ 265 นาโนเมตร
จากผลการวิจัยในห้องปฏิบัติการได้ผลพิสูจน์แล้วว่าสามารถขจัด DNA ของเชื้อไวรัส อยู่ที่ 85% ของค่าสูงสุด และ 80% บนเส้นโค้ง IES
*แสง UV-C เดินทางเป็นเส้นตรง การฆ่าเชื้อโรคจึงจะเกิดขึ้นได้ดีหากอยู่ในระยะใกล้และในด้านที่แสงตกกระทบ
รังสี UV-C (ที่ความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร) จะถูกดูดซับโดยตรงเข้าสู่อาร์เอ็นเอและฐานดีเอ็นเอของจุลินทรีย์ หรือพวกเชื้อโรคเชื้อไวรัสต่างๆ ด้วยเหตุนี้คลื่นแสงจะเข้าไปหยุดการทำงานของจุลินทรีย์โดยรบกวนการจำลองดีเอ็นเอของตัวมันเอง ซึ่งการจำลองแบบ การถอดรหัส และการแปลของ DNA จะส่งผลต่อการทำงานของเซลล์ ทำให้เซลล์แบคทีเรียตายไปนั่นเอง
🔸 แสง UV-C เดินทางเป็นเส้นตรง การฆ่าเชื้อโรคจึงจะเกิดขึ้นได้ดีหากอยู่ในระยะใกล้และในด้านที่แสงตกกระทบ แต่จะมีข้อจำกัดอยู่ตรงที่ว่าบริเวณที่เป็นซอกหลืบหรือส่วนที่ถูกแสงบัง UV-C จะเข้าไปไม่ถึงและไม่สามารถฆ่าเชื้อโรคในจุดๆนั้นได้
🔸 แสง UV-C นั้นไม่สามารถทะลุผ่านผ้า กระจก ไม้ กระดาษ รวมทั้งอะลูมิเนียมและโลหะได้
🔸 ควรใช้งานหลอด UV-C กับพื้นที่ที่เป็นห้องปิด และไม่ควรมีคน หรือสัตว์เลี้ยงอยู่ในห้อง
🔸 แสง UV-C อาจทำให้อุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบของพลาสติกมีอายุการใช้งานลดลง แนะนำว่าให้ใช้วิธีอื่นในการฆ่าเชื้อแทน เช่น เช็ดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ เป็นต้น สำหรับของใช้ในห้องที่จะทำการฆ่าเชื้อด้วย UV-C อาจจะหาผ้าคลุมปิดทับอีกที
🔸 ทุกครั้งที่มีการใช้งาน UV-C แนะนำให้สวมแว่นตาและเสื้อผ้าที่ปกคลุมบริเวณผิวหนัง หรือบริเวณที่ต้องสัมผัส UV-C รวมถึงสวมถุงมือเพื่อปกป้องผิวบริเวณมือหากต้องหยิบจับอุปกรณ์ใดๆในขณะที่เปิดใช้งานหลอด UV-C
การสัมผัสรังสี UV-C สามารถเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ โปรดศึกษาและทำตามแนวทางความปลอดภัยจากคู่มือผลิตภัณฑ์ก่อนใช้งานทุกครั้ง
สาขาขอนแก่น
สาขาชลบุรี
เลขที่ 174 ซอยพระรามเก้า 41
ตำบลสวนหลวง อำเภอสวนหลวง
จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10250
โทร. 02-719-1166
E-mail info@startlink.com